กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/973
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเป็นต้น จินะกุลen_US
dc.contributor.authorบรรจง เจริญสุขen_US
dc.contributor.authorญานิศา บุญจิตร์en_US
dc.date.accessioned2022-08-23T02:32:15Z-
dc.date.available2022-08-23T02:32:15Z-
dc.date.issued2565-08-22-
dc.identifier.citationสาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/973-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการของครูในการพัฒนาทักษะการบูรณาการการสอน ภาษาอังกฤษ 2) พัฒนาทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษ และ 3) ประเมินผลการพัฒนาทักษะในการพัฒนา ทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษของครู โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ เคมมิสและแม็คแท็ก การ์ท ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การ วางแผน การปฏิบัติการ การสังเกตการณ์ และการสะท้อนผล ดำเนินการ 2 วงรอบ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ครู โรงเรียนบ้านอ่างทอง จำนวน 24 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความ ต้องการ แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบนิเทศติดตาม แบบประเมินความเหมาะสมของ แผนการจัดการเรียนรู้ และ แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การสังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการของครูในการพัฒนาทักษะการบูรณา การการสอนภาษาอังกฤษอยู่ใน ระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้านสามารถเรียงลำดับความต้องการตามค่าร้อยละจากมาก ไปหาน้อย ได้ดังนี้ ความต้องการด้านความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษในทุก กลุ่มสาระ ด้าน ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ และด้านความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการงทั้งหมดมี ความต้องการอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) การพัฒนาทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษในครั้งนี้ใช้ดำเนินการ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษ การนำ แผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ และนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูในชั้นเรียน 3) การ ประเมินผล การพัฒนาทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษของครูพบว่า ครูมีความรู้ความเข้าใจหลังการ อบรมเชิงปฏิบัติการ สูงขึ้น ครูมีทักษะในการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษ และมีความพึงพอใจต่อการพัฒนา อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.subjectการพัฒนาครูen_US
dc.subjectทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการen_US
dc.titleการพัฒนาทักษะการบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษ ของครูโรงเรียนบ้านอ่างทอง อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeThe Development of Skills to Integrate English Teaching for Teachers of Ban Angthong School, Koh Samui District, Suratthani Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is_adm65_Penton.pdf861.41 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น