กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/935
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พีรพัฒน์ หนูยัง | en_US |
dc.contributor.author | สุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม | en_US |
dc.contributor.author | วาสนา จาตุรัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-04-29T03:39:46Z | - |
dc.date.available | 2022-04-29T03:39:46Z | - |
dc.date.issued | 2565-04-29 | - |
dc.identifier.citation | สาขาวิชาการเมืองการปกครอง | en_US |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/935 | - |
dc.description | การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ ธานี อย่างมีประสิทธิภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ จำนวนทั้งสิ้น 100 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์ โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับมาก ในด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร ด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ด้านการมีส่วนร่วมและส่งเสริมสนับสนุน ด้านบุคลากร ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามลำดับ และมีปัจจัยภายในเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตลาดไชยา แนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลตลาดไชยา 1) ควรรมอบหมายงานต้องให้ตรงตามตำแหน่ง 2) ควรพัฒนาครูอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 20 ชั่วโมงต่อปี และควรจัดตั้งกองการศึกษา 3) ควรปรับปรุงสถานที่ให้มี ความสวยงาม 4) ควรจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร 5) เน้นการมีส่วนร่วมจากผู้ปกครองและองค์กรอื่นและควรสร้างเครือข่าย อย่างเป็นทางการกับองค์กรอื่น | en_US |
dc.description.sponsorship | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.subject | การขับเคลื่อน | en_US |
dc.subject | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | en_US |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | การบริหารจัดการ | en_US |
dc.title | ปัจจัยในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.title.alternative | Factors Driven the Management of the Child Development Center of Talat Chaiya Sub-district Municipality, Chaiya District, Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Politics and Government : Independent Study (IS) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
is_pol_65Phiraphat.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น