กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/877
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุลวิชญ์ ตันจะโข | en_US |
dc.contributor.author | ชูศักดิ์ เอกเพชร | en_US |
dc.contributor.author | นัฎจรี เจริญสุข | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-07-16T04:28:06Z | - |
dc.date.available | 2021-07-16T04:28:06Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | en_US |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/877 | - |
dc.description | การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้โปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยวิธีการดำเนินการดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้โปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี จำนวน 73 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม 2) พัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก ประเมินโปรแกรมฯ โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ซึ่งอยู่เกณฑ์ที่สามารถใช้งานได้ และ 3) ประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยกลุ่มตัวอย่างทดลองระบบ ฯ ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี จำนวน 6 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบแบบประเมินโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็กพบว่า ครูมีภาระมากเกินไปทั้งงานสอนและงานสนับสนุนการสอน เกิดความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลของครู ความต้องการโดยรวมมีความต้องการใช้อยู่ในระดับมากที่สุดและเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า โปรแกรมสามารถบันทึกรายรับ-รายจ่ายได้และโปรแกรมสามารถสรุปยอดเงินคงเหลือประจำวันได้มีค่าร้อยละความต้องการสูงสุด รองลงมาคือ โปรแกรมมีขั้นตอนที่ใช้งานได้ง่ายและโปรแกรมสามารถเพิ่ม-ลบ แก้ไขผู้ใช้งาน และรหัสผ่านเป็นข้อที่มีค่าร้อยละความต้องการต่ำสุด 2) ผลการพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็กประกอบด้วย โปรแกรมสามารถเข้าใช้งานได้จากหลายอุปกรณ์สามารถกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งานในระดับต่างๆ สามารถบันทึกรายรับรายจ่ายสามารถสรุปเงินคงเหลือประจำวันสามารถบันทึกทะเบียนคุมแยกตามประเภทเงินต่างๆได้สามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลังและสามารถออกรายงานการเงินได้ ผลการตรวจสอบระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน พบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.80-1.00 สามารถใช้งานได้ 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่าผลการประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็กโดยผู้ทดลองใช้ทั้ง 5 ด้าน มีประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากเรียงตามลำดับดังนี้ ด้านความสามารถทำงานตรงต | en_US |
dc.description.sponsorship | คณะครุศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | บัณฑิตวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | การบริหารงานการเงินและบัญชี | en_US |
dc.subject | การบริหารสถานศึกษา | en_US |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 | en_US |
dc.title.alternative | The Development of Financial Accounting Management Information Program for Small-Sized Schools under The Primary Educational Service Area Office Suratthani 3 | en_US |
dc.type | Article | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Education Administration: Independent Study (IS) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
kullawit Ed64.pdf | 866.27 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น