กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/797
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุนิสา คงเจริญen_US
dc.contributor.authorชูศักดิ์ เอกเพชรen_US
dc.contributor.authorนัฏจรี เจริญสุขen_US
dc.date.accessioned2021-02-04T03:21:19Z-
dc.date.available2021-02-04T03:21:19Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/797-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการด้านการใช้เอกสารธุรการชั้นเรียน 2) พัฒนาระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และ 3) ประเมินประสิทธิภาพของระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โดยวิธีการดำเนินการดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการด้านการใช้เอกสารธุรการชั้นเรียนของครูในอำเภอสุขสำราญ ซึ่งประชากร ได้แก่ ครูผู้สอนประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 54 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอนประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 48 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) พัฒนาระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ประเมินประสิทธิภาพของระบบซึ่งอยู่เกณฑ์ที่สามารถใช้งานระบบได้ และ 3) ประเมินระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โดยกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 6 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาการใช้เอกสารธุรการชั้นเรียนของครูอำเภอสุขสำราญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง พบว่า โดยรวมทั้งและรายด้านอยู่ในระดับมาก ซึ่งสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านสุขภาพพลานามัย ด้านระบบ ด้านพฤติกรรมนักเรียน และ ด้านวิชาการ 2) ผลการพัฒนาระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยเอกสารธุรการชั้นเรียน 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านสุขภาพพลานามัย ด้านพฤติกรรมนักเรียน ผลการตรวจสอบระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่านพบว่า มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.80-1.00 สามารถใช้งานระบบได้ 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านพฤติกรรมนักเรียน ด้านรูปแบบการใช้งานระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ด้านงานวิชาการ และ ด้านสุขภาพพลานามัยen_US
dc.description.sponsorshipสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนen_US
dc.subjectเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleการพัฒนาระบบเอกสารธุรการชั้นเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับครูอำเภอสุขสำราญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองen_US
dc.title.alternativeDevelopment of an Electronic Classroom Administrative Document System for Teachers in Suksamran District under the Office of Ranong Primary Educational Service Areaen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sunisa_IS_med64.pdf992.26 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น