กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/616
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บรรจง เจริญสุข | - |
dc.contributor.advisor | อิศรัฏฐ์ รินไธสง | - |
dc.contributor.author | อภิจิตร์ ณ นคร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-06-15T06:07:31Z | - |
dc.date.available | 2019-06-15T06:07:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/616 | - |
dc.description.abstract | จากการปฏิรูปการศึกษาไทยที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีความจำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพ ผู้เรียนให้มีพฤติกรรมและความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพในโลก ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ การจัดการศึกษาในปัจจุบันไม่มีหลักสูตรเฉพาะเพื่อการฝึก พฤติกรรมการคิดวิเคราะห์สำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาโดยตรง เพราะโรงเรียนมีข้อจำกัด ในด้านเนื้อหาและรูปแบบการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนทั่วไป ทำให้ผลการประเมินมาตรฐานผู้เรียน ด้านความสามารถการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดไตร่ตรองอยู่ในระดับ ที่ต่ำมากที่สุด โดยเฉพาะปัญหาการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ทักษะและความสามารถ ให้เกิดพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ในการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งต้องคอยรับจากครูผู้สอนและคิดตามผู้อื่น มากกว่าการคิดด้วยตนเอง ครูจึงเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ ครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้ลงมือทำแล้วเกิดพฤติกรรมการคิด วิเคราะห์เพื่อให้ผู้สร้างเจตคติ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่จะผลักดันการพัฒนาพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้วิจัยเห็นความสำคัญในการพัฒนาพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้ตอนบน ด้วยการมุ่งศึกษาปัจจัยระดับนักเรียนและระดับครูที่มีความสำคัญต่อการส่งเสริมพฤติกรรมการคิด วิเคราะห์ เพื่อนำปัจจัยเหล่านั้นมาร่วมวางแผนนโยบายสนับสนุนการศึกษาที่เน้นพัฒนาพฤติกรรม การคิดวิเคราะห์ของนักเรียน และนำปัจจัยที่มีความสำคัญมาสร้างสมการพยากรณ์พหุระดับพฤติกรรม การคิดวิเคราะห์ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ครูที่ปฏิบัติการสอนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 จำนวน 30 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 900 คน จากวิธีการสุ่มหลายขั้นตอน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือวิจัยด้วยแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับสำหรับครูและฉบับสำหรับนักเรียนด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลสมการถดถอยพหุระดับ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.subject | มเดลเชิงสาเหตุพหุ | en_US |
dc.subject | คิดวิเคราะห์ | en_US |
dc.title | โมเดลเชิงสาเหตุพหุระดับพฤติกรรมการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคใต้ตอนบน | en_US |
dc.title.alternative | THE MULTILEVEL CAUSAL MODEL OF BEHAVIOR ANALYTICAL THINKING OF PRATOMSUKSA 6 STUDENTS UNDER THE JURISDICTION OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION IN THE UPPER SOUTH OF THAILAND | en_US |
dc.type | Other | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Leadership in Educational Management : Dissertations |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
01 Cover Apijit.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
02 Chapter 1 Apijit.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
03 Chapter 2 Apijit.pdf | 11.34 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
04 Chapter 3 Apijit.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
05 Chapter 4 Apijit.pdf | 4.27 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
06 Chapter 5 Apijit.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
07 Reference Apijit.pdf | 30.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น