กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1100
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขนิษฐา เหงี่ยมไพศาล | en_US |
dc.contributor.author | สิทธิกร ศักดิ์แสง | en_US |
dc.date.accessioned | 2025-02-24T06:20:23Z | - |
dc.date.available | 2025-02-24T06:20:23Z | - |
dc.date.issued | 2568-02-21 | - |
dc.identifier.citation | บทความ, การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนากระบวนการยุติธรรม | en_US |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1100 | - |
dc.description | การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนากระบวนการยุติธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและกฎหมายที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการดำเนินการไกล่เกลี่ยกับข้อพิพาททางแพ่งในศาล 2) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่มีผลต่อการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลโดยผู้ประนีประนอม : กรณีศึกษาในศาลจังหวัดเกาะสมุย และ 3) หาแนวทางในการพัฒนาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลโดยผู้ประนีประนอมในศาลจังหวัดเกาะสมุย การศึกษานี้ได้ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาและการวิเคราะห์เอกสารทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและจากการสังเกตุ ผลการศึกษาพบว่า สิ่งที่มีปัญหาในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาล คือกฎหมายบางข้อไม่สนับสนุนการไกล่เกลี่ยในศาลอย่างเต็มที่ทำให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลยังมีปัญหาข้อกฎหมายที่ควรปรับปรุงแก้ไข จำนวนทุนทรัพย์ที่ต้องไกล่เกลี่ยสูงมักไกล่เกลี่ยได้ยาก คู่พิพาทไม่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ไม่ทราบวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจึงไม่ให้ความยอมรับและความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเท่าที่ควร ชาวต่างชาติมักจะระแวงไม่ไว้วางใจและไม่มีความเข้าใจในกระบวนการยุติธรรมของไทยและมีปัญหาเรื่องภาษาที่ทำให้การเจรจาไกล่เกลี่ยเป็นไปได้ด้วยความลำบากและใช้เวลานาน บทบาทของทนายความที่ให้น้ำหนักไปในการว่าความมากกว่าการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ประนีประนอมยังขาดคุณลักษณะบางประการที่ส่งเสริมการไกล่เกลี่ยให้มีมีประสิทธิภาพได้มากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ ควรแก้ไขข้อกำหนดศาลฎีกากับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นศาลให้สนันสนุนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นศาลโดยผู้ประนีประนอม ควรตั้งผู้ประนีประนอมเป็นคณะในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีทุนทรัพย์สูง ควรส่งเสริมให้ทนายความสนับสนุนการไกล่เลกี่ยข้อพิพาทในศาล ควรมีล่ามที่เชี่ยวชาญในการแปลภาษาที่เกี่ยวกับศัพท์ทางกฎหมาย และควรส่งเสริมให้ผู้ประนีประนอมในศาลได้พัฒนาศักภาพอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการพัฒนาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นศาลโดยผู้ประนีประนอม | en_US |
dc.description.sponsorship | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.subject | การไกล่เกลี่ย | en_US |
dc.subject | ผู้ประนีประนอม | en_US |
dc.subject | ข้อพิพาทในชั้นศาล | en_US |
dc.title | ปัญหาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นศาลโดยผู้ประนีประนอม: กรณีศึกษาในศาลจังหวัดเกาะสมุย | en_US |
dc.title.alternative | Problems of Mediation of Disputes in Court by Conciliators: A Case Study of Koh Samui Provincial Court | en_US |
dc.type | Article | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Master of Arts (Development of Justice System) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
is DJS68_Khanitta.pdf | บทความ, การค้นคว้าอิสระ ขนิษฐา เหงี่ยมไพศาล | 346.05 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น