กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1033
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรกานต์ คงสุข | en_US |
dc.contributor.author | จิตรดารมย์ รัตนวุฒิ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-16T10:32:30Z | - |
dc.date.available | 2023-09-16T10:32:30Z | - |
dc.date.issued | 2566-09-01 | - |
dc.identifier.citation | บทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ | en_US |
dc.identifier.uri | http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1033 | - |
dc.description | บทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับหลักประกันสิทธิผู้สูงอายุ โดยศึกษามาตรการกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีอาญาผู้สูงอายุในชั้นสอบสวนคดีและชั้นสั่งคดี เพื่อเสนอแนวทางการคุ้มครองสิทธิในการดำเนินคดีอาญากับผู้สูงอายุของประเทศไทย ด้วยการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร จากการศึกษาพบว่า แนวคิดเกี่ยวกับหลักประกันสิทธิผู้สูงอายุ ถูกบรรจุให้อยู่ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในข้อ 2 และข้อ 7 สำหรับประเด็นความคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุของประเทศสหรัฐอเมริกา ในชั้นสอบสวนคดีกำหนดให้มีมาตรการการนำตัวผู้ต้องหาสูงอายุส่งศูนย์บำบัดทางจิตเมื่อพบว่ามีสภาวะทางจิตใจ หรือปรากฏความหลงใหลทางสติแทนการส่งตัวไปกักขัง ส่วนในชั้นสั่งคดี กำหนดให้พนักงานอัยการสามารถนำมาตรการการชะลอการฟ้องคดีมาใช้แก่ผู้กระทำผิดสูงอายุได้ ในกรณีของประเทศญี่ปุ่น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 37 ได้รับรองสิทธิการมีทนายความให้แก่ผู้สูงอายุที่ตกเป็นจำเลยซึ่งมีอายุมากกว่า 70 ปี และไม่สามารถได้ยินหรือพูด หรือมีความน่าเชื่อว่าจำเลยวิกลจริต หรือ มีความสามารถที่บกพร่อง ผู้ศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ ในชั้นสอบสวนคดี ควรเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในหมวดการสอบสวนคดี ในมาตรา 133 จัตวา เพื่อให้มี (1) มาตรการการนำตัวผู้ต้องหาสูงอายุส่งศูนย์บำบัดทางจิตแทนการกักขัง (2) มาตรการสิทธิการมีทนายความของผู้ต้องหาสูงอายุในชั้นสอบสวนคดีตามแบบอย่างที่มีการบังคับใช้อยู่ในประเทศญี่ปุ่น และ (3) ในชั้นสั่งคดี ควรเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 143/1 เพื่อให้มีมาตรการชะลอการฟ้องคดีให้แก่ผู้กระทำผิดสูงอายุในชั้นสั่งคดีตามแบบอย่างของประเทศสหรัฐอเมริกา | en_US |
dc.description.sponsorship | บัณฑิตวิทยาลัย และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | คดีอาญา | en_US |
dc.subject | การคุ้มครองสิทธิ | en_US |
dc.title | การคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในคดีอาญา ศึกษากรณี ชั้นสอบสวนคดีและชั้นสั่งคดี | en_US |
dc.title.alternative | Protection of the elderly on criminal cases Case study, investigative and prosecutor | en_US |
dc.type | Article | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Laws : Independent Study (IS) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
is66law_Worakan.pdf | บทความ, การค้นคว้าอิสระนิติศาสตรมหาบัณฑิต | 849.44 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น